สรุปกฎหมายบัญชี
กฎหมายบัญชี คือ
กฎหมายบัญชีล่าสุด กฎหมายว่าด้วยการบัญชีฉบับปัจจุบัน คือ ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 285 ได้ใช้ บังคับมาตั้งแต่ปี 2515 จนถึงปัจจุบันเป็นเวลากว่า 27 ปี
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ใครที่เป็นนักบัญชีคงรู้ว่า ในหน้าที่การงานที่เกี่ยวกับบัญชีที่ตนรับผิดชอบอยู่นั้นจะพบว่าต้องเกี่ยวข้องกับกฎหมายหลายๆฉบับอย่างไม่น่าเชื่อ ที่ใกล้ตัวที่สุดน่าจะเป็น
(๑) ประมวลรัษฎากร กฎหมายเกี่ยวกับภาษีอากร ตามมาด้วย
(๒) ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ โดยเฉพาะในบรรพ 3 ในหมวดว่าด้วย “บริษัท”
(๓) พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543
(๔) พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547
(๕) พระราชบัญญัติประกันสังคม
(๖) พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ที่เรียกกันสั้นๆว่ากฎหมายแรงงาน)
พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ.2543 สรุป
สรุปพรบ.การบัญชี 2543 pdf พรบ_การบัญชี_2543
สรุป กฎหมายบัญชี มีอะไรบ้าง
ใครที่เป็นนักบัญชีคงจะรู้อยู่แล้วว่ากฎหมายที่จำเป็นมีอะไรบ้าง แต่ว่าก็ยังมีบางคนที่ยังรู้ว่ากฎหมายสำคัญ ที่จำเป็นจริงๆคืออะไร
ฉะนั้นใครที่เป็นนักบัญชีเองก็คงจะรู้ว่า ในหน้าที่การงานต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการบัญชีต้องมีกฎหมายเข้ามาเกี่ยวข้อง อย่าง กฎหมายประมวลรัษฎากร ที่เป็นกฎหมายเกี่ยวกับภาษีอากรโดยตรงและอีกหนึ่งอย่างที่สำคัญก็ คือ
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ยิ่งในบรรพ 3 ตามพระราชบัญญัติ พุทธศักราช 2543 การบัญชี
พระราชบัญญัติ พุทธศักราช 2547 วิชาชีพบัญญัติ
พระราชบัญญัติประกันสังคม
พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน
สำหรับเหล่านักบัญชี จำเป็นต้องรู้จักกฎหมายทั้งหมด เพราะว่าเป็นแนวความคิดรวมๆ ที่สามารถนำมาอ้างอิงได้ ยิงในกฎหมายประมวลรัษฎากรด้วยแล้วยิ่งจำเป็นที่สุด เพราะว่าเป็นกฎหมายที่เข้มข้นที่สุด
แต่ในปัจจุบันประเด็นต่างๆทางภาษีก็มักจะตามมากมาย อีกทั้งเงื่อนไขต่างๆ ก็ทำให้นักบัญชีต้องทำการแยกภาษีต่างๆ ออกจากการทำบัญชีด้วย ด้านกฎหมายแพ่งและกฎหมายพาณิชย์ที่นักบัญชีต้องทราบและเข้าใจ ต้องเริ่มจากการเรียนรู้เสียก่อน เพราะว่ามีทั้งสิ้น ๖ บรรพ ด้วยกัน ดังต่อไปนี้
บรรพ 1 มาตรา 4-193 หลักทั่วไป จะเกี่ยวข้องกับบุคคล, สมาคม, นิติบุคคล, มูลนิธิ, นิติกรรม, ทรัพย์, ระยะเวลาและอายุความ รวมแล้วประมาณ 224 ข้อ
บรรพ 2 มาตรา 194-452 หนี้ จะเกี่ยวข้องในเรื่องของหนี้สิน, สิทธิการเรียกร้องต่างๆ, บุริมสิทธิ, เจ้าหนี้และลูกหนี้ รวมไปถึงการโอนกรรมสิทธิ์, สัญญา, การชำระหนี้, การจัดการนอกสั่ง, ละเมิด และลาภมิควรได้ รวมแล้วประมาณ 258 ข้อ
บรรพ 3 มาตรา 453-1297 เอกเทศสัญญา เกี่ยวข้องกับการแลกเปลี่ยน, ซื้อขาย, เช่าซื้อ, การเช่าทรัพย์, จ้างทำของ, จ้างแรงงาน, รับขน, จ้างทำของ, ยืม, ฝากทรัพย์, จำนอง, ค้ำประกัน, จำนำ, คลังสินค้า, นายหน้า, ตัวแทน, การพนันขันต่อ, ประนีประนอมยอมความ, ประกันภัย, บัญชีเดินสะพัด หุ้นส่วนบริษัท, ตั๋วเงิน รวมแล้วประมาณ 824 ข้อ
บรรพ 4 ทรัพย์สิน เกี่ยวกับ กรรมสิทธิ์ ภาระจำยอม, ครอบครอง, สิทธิเหนือพื้นดิน, อาศัย, สิทธิเก็บกิน, อสังหาริมทรัพย์แบบภาระติดพัน รวมแล้วประมาณ 136 ข้อ
บรรพ 5 มาตรา 1435-1598 ครอบครัว เกี่ยวกับบิดามารดา การสมรส บุตร มรดกต่างๆ รวม 156 ข้อ
บรรพ 6 มาตรา 1599-1755 มรดก เกี่ยวกับการตกทอด, พินัยกรรม, สิทธิในการรับมรดก, อายุความ รวมแล้ว 156 ข้อ
ปริญญาตรี บัญชี นักบัญชี ที่ชอบทำบทความ รักการทำบทความมากว่า 20 ปี