Click to rate this post!
[Total: 10 Average: 5]
ในหน้านี้
ระบบบัญชีคู่
หลักการบันทึกบัญชีตามระบบบัญชีคู่
ระบบบัญชีคู่ นับเป็นวิธีการที่ใช้สำหรับปฏิบัติในการบันทึกรายการบัญชีต่าง ๆ ที่ประกอบด้วยรายการที่อยู่ในสมุดรายวันทั่วไป ซึ่งเป็นรายการในสมุดบัญชีแยกประเภท และเอกสารหลักฐาน ซึ่งในการบันทึกเหล่านี้จะมีระบบการและประเพณีปฏิบัติต่าง ๆ ซึ่งอาจจะใช้ได้กับทั้งกิจการขนาดเล็กและขนาดใหญ่
ทั้งนี้ก็เพื่อวัตถุประสงค์ที่จะทำให้สามารถเสนอรายงานทางการเงินได้ถูกต้องตามที่ควรและทำให้ทันต่อเหตุการณ์ ในการบันทึกบัญชีตามระบบบัญชีคู่ในแต่ละรายการที่จะเกี่ยว ข้องกับบัญชีสองด้าน ความหมายของระบบบัญชีคู่ ระบบบัญชีคู่ หมายถึงการบันทึกด้านเดบิตบัญชีหนึ่งและบันทึกด้านเครดิต ที่อยู่ในอีกบัญชีหนึ่งด้วยจำนวนเงินที่เท่ากัน ซึ่งจะมีผลทำให้เกิดดุลขึ้นในตัวเอง
ขณะเดียวกันก็จะทำให้ผลรวมของยอดบัญชีที่เกิดจากทุกรายการ เมื่อนำมารวมกันแล้วได้ค่าเป็นศูนย์ นั่นก็คือ ผลรวมของยอดดุลที่เป็นเดบิตเท่ากับผลรวมยอดดุลเครดิต ซึ่งการจัดทำรายละเอียดของยอดบัญชีต่าง ๆ ประกอบกันเป็นยอดรวมทั้งสิ้น เรียกกันว่าเป็น “งบทดลอง” การบันทึกบัญชีในระบบบัญชีคู่ การบันทึกบัญชีจะเป็นการใช้หลักระบบบัญชีคู่ ทำให้รายการค้าทุกรายการต้องทำการบันทึกโดยเดบิตบัญชีหนึ่ง
และเครดิตอีกบัญชีหนึ่งด้วยจำนวนเงินที่เท่ากันเสมอ เรียกได้ว่า บัญชีนั้นได้ดุลกัน แต่ในบางครั้งรายการค้าที่เกิดขึ้นในเวลาเดียวกันอาจมีหลายบัญชี และอาจทำการบันทึกบัญชีโดยเดบิตหรือเครดิตบัญชีหลายบัญชีรวมกันได้ เรียกว่า การรวมรายการ หรือ Compound entry แต่จำนวนเงินรวมของเดบิตและเครดิตจะต้องมีค่าเท่ากันเสมอ นอกจากนั้นเมื่อทำการบันทึกรายการค้าเรียบร้อยแล้วยอดคงเหลือของแต่ละบัญชีที่มียอดดุลเดบิต
ซึ่งหากนำมารวมกันจะเท่ากับยอดคงเหลือของแต่ละบัญชีที่มียอดดุลเครดิต และเป็นไปตามหลักสมการบัญชีที่ว่า สินทรัพย์ มีค่าเท่ากับ หนี้สินและทุนรวมกัน หลักการบันทึกบัญชีตามระบบบัญชีคู่ การบันทึกบัญชีตามระบบบัญชีคู่ของแต่ละหมวดบัญชี มี
1.หมวดบัญชีสินทรัพย์ คือรายการค้าใดที่มีผลทำให้สินทรัพย์เพิ่มขึ้น จะทำการบันทึกไว้ทางด้านเดบิต ส่วนรายการค้าใดที่วิเคราะห์แล้วมีผลทำให้สินทรัพย์ลดลง ก็จะทำการบันทึกไว้ทางด้านเครดิต
2.หมวดบัญชีหนี้สิน คือรายการค้าใดที่มีผลทำให้หนี้สินเพิ่มขึ้น ก็จะทำการบันทึกไว้ทางด้านเครดิต ส่วนรายการค้าใดที่วิเคราะห์แล้วมีผลทำให้หนี้สินลดลงก็จะทำการบันทึกไว้ทางด้านเดบิต
3.หมวดบัญชีทุน คือรายการค้าใดที่มีผลทำให้ทุนเพิ่มขึ้น ก็จะทำการบันทึกบัญชีไว้ทางด้านเครดิตส่วนรายการค้าใดที่วิเคราะห์แล้วมีผลทำให้ทุนลดลง ก็จะทำการบันทึกไว้ทางด้านเดบิต
4.หมวดบัญชีรายได้ หากบัญชีรายได้เพิ่มขึ้นและมีผลทำให้บัญชีทุนเพิ่ม ให้ทำการวิ เคราะห์ โดยยึดตามหลักหมวดบัญชีทุน ซึ่งหากรายได้เพิ่มขึ้นก็จะบันทึกบัญชีด้านเครดิต ถ้ารายได้ลดลง ก็ให้ทำการบันทึกบัญชีทางด้านเดบิต และ
5.หมวดบัญชีค่าใช้จ่าย หากบัญชีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นมีผลทำให้บัญชีทุนลดลง ก็ควรยึดตามหลักหมวดบัญชีทุนเช่นกัน
ทั้งนี้ก็เพื่อวัตถุประสงค์ที่จะทำให้สามารถเสนอรายงานทางการเงินได้ถูกต้องตามที่ควรและทำให้ทันต่อเหตุการณ์ ในการบันทึกบัญชีตามระบบบัญชีคู่ในแต่ละรายการที่จะเกี่ยว ข้องกับบัญชีสองด้าน ความหมายของระบบบัญชีคู่ ระบบบัญชีคู่ หมายถึงการบันทึกด้านเดบิตบัญชีหนึ่งและบันทึกด้านเครดิต ที่อยู่ในอีกบัญชีหนึ่งด้วยจำนวนเงินที่เท่ากัน ซึ่งจะมีผลทำให้เกิดดุลขึ้นในตัวเอง
ขณะเดียวกันก็จะทำให้ผลรวมของยอดบัญชีที่เกิดจากทุกรายการ เมื่อนำมารวมกันแล้วได้ค่าเป็นศูนย์ นั่นก็คือ ผลรวมของยอดดุลที่เป็นเดบิตเท่ากับผลรวมยอดดุลเครดิต ซึ่งการจัดทำรายละเอียดของยอดบัญชีต่าง ๆ ประกอบกันเป็นยอดรวมทั้งสิ้น เรียกกันว่าเป็น “งบทดลอง” การบันทึกบัญชีในระบบบัญชีคู่ การบันทึกบัญชีจะเป็นการใช้หลักระบบบัญชีคู่ ทำให้รายการค้าทุกรายการต้องทำการบันทึกโดยเดบิตบัญชีหนึ่ง
และเครดิตอีกบัญชีหนึ่งด้วยจำนวนเงินที่เท่ากันเสมอ เรียกได้ว่า บัญชีนั้นได้ดุลกัน แต่ในบางครั้งรายการค้าที่เกิดขึ้นในเวลาเดียวกันอาจมีหลายบัญชี และอาจทำการบันทึกบัญชีโดยเดบิตหรือเครดิตบัญชีหลายบัญชีรวมกันได้ เรียกว่า การรวมรายการ หรือ Compound entry แต่จำนวนเงินรวมของเดบิตและเครดิตจะต้องมีค่าเท่ากันเสมอ นอกจากนั้นเมื่อทำการบันทึกรายการค้าเรียบร้อยแล้วยอดคงเหลือของแต่ละบัญชีที่มียอดดุลเดบิต
ซึ่งหากนำมารวมกันจะเท่ากับยอดคงเหลือของแต่ละบัญชีที่มียอดดุลเครดิต และเป็นไปตามหลักสมการบัญชีที่ว่า สินทรัพย์ มีค่าเท่ากับ หนี้สินและทุนรวมกัน หลักการบันทึกบัญชีตามระบบบัญชีคู่ การบันทึกบัญชีตามระบบบัญชีคู่ของแต่ละหมวดบัญชี มี
1.หมวดบัญชีสินทรัพย์ คือรายการค้าใดที่มีผลทำให้สินทรัพย์เพิ่มขึ้น จะทำการบันทึกไว้ทางด้านเดบิต ส่วนรายการค้าใดที่วิเคราะห์แล้วมีผลทำให้สินทรัพย์ลดลง ก็จะทำการบันทึกไว้ทางด้านเครดิต
2.หมวดบัญชีหนี้สิน คือรายการค้าใดที่มีผลทำให้หนี้สินเพิ่มขึ้น ก็จะทำการบันทึกไว้ทางด้านเครดิต ส่วนรายการค้าใดที่วิเคราะห์แล้วมีผลทำให้หนี้สินลดลงก็จะทำการบันทึกไว้ทางด้านเดบิต
3.หมวดบัญชีทุน คือรายการค้าใดที่มีผลทำให้ทุนเพิ่มขึ้น ก็จะทำการบันทึกบัญชีไว้ทางด้านเครดิตส่วนรายการค้าใดที่วิเคราะห์แล้วมีผลทำให้ทุนลดลง ก็จะทำการบันทึกไว้ทางด้านเดบิต
4.หมวดบัญชีรายได้ หากบัญชีรายได้เพิ่มขึ้นและมีผลทำให้บัญชีทุนเพิ่ม ให้ทำการวิ เคราะห์ โดยยึดตามหลักหมวดบัญชีทุน ซึ่งหากรายได้เพิ่มขึ้นก็จะบันทึกบัญชีด้านเครดิต ถ้ารายได้ลดลง ก็ให้ทำการบันทึกบัญชีทางด้านเดบิต และ
5.หมวดบัญชีค่าใช้จ่าย หากบัญชีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นมีผลทำให้บัญชีทุนลดลง ก็ควรยึดตามหลักหมวดบัญชีทุนเช่นกัน
รายการค้าทุกรายการต้องบันทึกโดยเดบิตบัญชีหนึ่ง และเครดิตอีกบัญชีหนึ่ง
การบันทึกบัญชี จะใช้หลักระบบบัญชีคู่ ดังนั้นรายการค้าทุกรายการต้องบันทึกโดยเดบิตบัญชีหนึ่ง และเครดิตอีกบัญชีหนึ่ง ด้วยจำนวนเงินที่เท่ากันเสมอ เรียกว่า บัญชีนั้นได้ดุลกัน
แต่ในบางครั้งรายการค้าที่เกิดขึ้นในเวลาเดียวกันมีหลายบัญชี อาจบัญชี อาจบันทึกบัญชีโดย เดบิต หรือ เครดิต บัญชีหลายบัญชีรวมกันได้ เรียกว่า การรวมรายการ แต่จำนวนเงินรวมของเดบิตและเครดิต จะต้องเท่ากันเสมอ
นอกจากนั้นเมื่อบันทึกรายการค้าเรียบร้อยแล้ว ยอดคงเหลือของแต่ละบัญชีที่มียอดดุล เดบิต เมื่อนำมารวมกัน จะเท่ากับยอดคงเหลือของแต่ละบัญชีที่มียอดดุล เครดิต ซึ่งเป็นไปตามหลักสมการบัญชีที่ว่า สินทรัพย์ เท่ากับ หนี้สินและทุนรวมกัน
แต่ในบางครั้งรายการค้าที่เกิดขึ้นในเวลาเดียวกันมีหลายบัญชี อาจบัญชี อาจบันทึกบัญชีโดย เดบิต หรือ เครดิต บัญชีหลายบัญชีรวมกันได้ เรียกว่า การรวมรายการ แต่จำนวนเงินรวมของเดบิตและเครดิต จะต้องเท่ากันเสมอ
นอกจากนั้นเมื่อบันทึกรายการค้าเรียบร้อยแล้ว ยอดคงเหลือของแต่ละบัญชีที่มียอดดุล เดบิต เมื่อนำมารวมกัน จะเท่ากับยอดคงเหลือของแต่ละบัญชีที่มียอดดุล เครดิต ซึ่งเป็นไปตามหลักสมการบัญชีที่ว่า สินทรัพย์ เท่ากับ หนี้สินและทุนรวมกัน
สำนักงานบัญชี มีบริการอะไรบ้าง แล้วจะติดต่อสำนักงานบัญชี รับทำบัญชี ได้อย่างไร
47/103 ตำบลบางพูด อำเภอปากเกร็ด
จังหวัดนนทบุรี 11120
โทร.081-931-8341
จังหวัดนนทบุรี 11120
โทร.081-931-8341

อ่านบทความทั้งหมด >>> รับทำบัญชี.com
Tag : การบันทึกบัญชี 5 หมวด, การบันทึกบัญชีค่าใช้จ่าย, การบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป, ตัวอย่างการบันทึกบัญชี, บันทึกบัญชี ถอนเงิน จากธนาคาร, หลักการบัญชีคู่ หมายถึง, เงินโอน บันทึกบัญชี ยัง ไง, เดบิต เครดิต สมุดรายวันทั่วไป

ปริญญาตรี บัญชี นักบัญชี ที่ชอบทำบทความ รักการทำบทความมากว่า 20 ปี
รับทำบัญชี โทร.081-931-8341 (คุณจ๋า)
แนะนำ 3 ขั้นตอน เริ่มต้น ขายของออนไลน์
วิธีขายของออนไลน์มือใหม่ อยากขายของออนไลน์ ขายอะไรดี อาชีพขายของออนไลน์ ภาษาอังกฤษ วิธีสมัครขายของออนไลน์ อยากขายของออนไลน์ แต่ไม่รู้จะขายอะไรดี ขายของออนไลน์ยังไงให้มีคนซื้อ เริ่ม ขายของออนไลน์ ไม่สต๊อกสินค้า เริ่มต้นขายของ
บริษัทรับทำบัญชี ความต้องการ เปรียบเทียบ !
รับทำบัญชี ออนไลน์ รับ ทํา บัญชีอิสระ บริษัท รับ ทํา บัญชี ใกล้ฉัน บริษัทรับทําบัญชี pantip รับทําบัญชี รายรับรายจ่าย รับทำบัญชี นนทบุรี รับทําบัญชี บุคคลธรรมดา รับทําบัญชี ภาษาอังกฤษ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กับ วิชาชีพบัญชี
Click to rate this post! [Total: 10 Average: 5] ในหน้าน …
โรงงานขนาดเล็ก กิจการค้า รายรับ รายจ่าย !
เปิดโรงงานอะไรดี ตัวอย่าง โรงงาน gmp ขนาดเล็ก โรงงานเล็กๆ สร้าง โรงงาน ใช้เงิน เท่า ไหร่ ธุรกิจโรงงานอุตสาหกรรม เปิดโรงงานผลิตอาหาร ทุนเปิดโรงงาน ธุรกิจขนาดเล็ก ที่น่าสนใจ
นิติบุคคล กิจการค้า รายรับ รายจ่าย !
จดทะเบียนนิติบุคคล คนเดียว จดทะเบียนบริษัท คนเดียว ขั้น ตอน การ จดทะเบียน บริษัท คนเดียว จดทะเบียนนิติบุคคล ค่าใช้จ่าย เปิดบริษัทคนเดียว เปิดบริษัทคนเดียว ค่าใช้จ่าย จดทะเบียน นิติบุคคล ที่ไหน การจดทะเบียนบริษัท มีกี่แบบ
การทำบัญชีเองสามารถทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายในการจ้างบริษัทบัญชีภายนอกได้หรือไม่?
ค่าจ้างทำบัญชี เปิดบริษัท ทําบัญชีเองได้ไหม ตัวอย่าง การทำบัญชีบริษัท บัญชีบริษัท มีอะไรบ้าง จ้างบัญชีฟรีแลนซ์ อัตราค่าจ้าง นักบัญชี การทําบัญชีบริษัท excel การทําบัญชีบริษัท เบื้องต้น ใกล้ฉัน ออนไลน์
เกณฑ์คงค้าง คือ งบ บันทึกหมวดบัญชี
Click to rate this post! [Total: 10 Average: 5] ในหน้าน …
บริการ ที่ บริษัทรับทำบัญชี สามารถทำได้ ?
เปิดบริษัท ทําบัญชีเองได้ไหม ค่าจ้างทำบัญชี - pantip บัญชีบริษัท มีอะไรบ้าง ค่าจ้างทําบัญชี บริษัท ขึ้นทะเบียนผู้ทําบัญชี ครั้งแรก ตัวอย่าง การทำบัญชีบริษัท จ้างบัญชีฟรีแลนซ์ ทําบัญชี บริษัทเอง