กองทุนสำรองเลี้ยงชีพซี่งลูกจ้างและนายจ้างร่วมกันจัดตั้งขึ้น
เงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพที่เป้นไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กำหนดโดยกฏกระทรวง พอสรุปได้ดังนี้
- -กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ คือ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพซี่งลูกจ้างและนายจ้างร่วมกันจัดตั้งขึ้น และได้จดทะเบียนตามพระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ.2530 ประกอบด้วยเงินที่ลูกจ้างจ่ายสะสม รวมถึงเงินที่นายจ้างจ่ายสมทบเพื่อเป้นหลักประกันแก่ลูกจ้างในกรณีที่ลูกจ้างตายหรือลาออกจากงานหรือลาออกจากกองทุน
- -เงินที่บริษัทจ่ายสมทบเข้ากองทุนที่จะถือเป้นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิและขาดทุนสุทธได้ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไขที่กำหนดตามกฏหมายว่าด้วยกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
- -เงินที่บริษัทจ่ายสมทบเข้ากองทุน ให้ถือเป็นรายจ่ายได้ในรอยบระยะเวลาบัญชีที่จ่ายเท่ากับเงินที่บริษัทได้จ่ายเท่ากับเงินที่บริษัทได้จ่ายสมทบตามอัตราที่กำหนดในข้อบังคับของกองทุนตามกฏหมายว่าด้วยกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ทั้งนี้ต้องจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนภายใน 3 วันทำการนับแต่วันที่มีการจ่ายค่าจ้าง
- -ในกรณีที่บริษัทมิได้ปฏิบัติให้ถูกต้อง ในการส่งเงินสะสมเข้ากองทุนตามอัตราที่กำหนดไว้แต่ถ้าบริษัทได้แก้ไขให้ถูกต้องและได้จ่ายเงินเพิ่มให้แก่กองทุนอธิบดีกรมสรรพากรจะอนุมัติให้ถือเป็นรายจ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีที่แก้ไขให้ถูกต้อง
- -ในกรณีที่บริษัทได้จ่ายเงินสมทบเข้ากองทุน และถือเป็นรายจ่ายไปแล้ว ถ้าบริษัทได้เงินกลับคืนมาจากกองทุนด้วยประการใดๆเงินที่ได้กับคืนมานั้นให้ถือเป้นรายได้ของบริษัทในรอบระยะเวลาบัญชที่ได้กลับคืนมา รายจ่ายตามมาตรา 65 ตรี เงินกองทุน Related Posts via Categoriesผู้นำเข้าและส่งออกที่ได้รับการยกเว้นภาษี (1)การยกเลิกใบกำกับภาษี (1)การจำหน่ายหนี้สูญในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม (1)การชำระค่าภาษีอากรศุลกากร (1)อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ (1)
ปริญญาตรี บัญชี นักบัญชี ที่ชอบทำบทความ รักการทำบทความมากว่า 20 ปี
รับทำบัญชี โทร.081-931-8341 (คุณจ๋า)
ข้อมูล เศรษฐกิจ ในรูปตัว เงิน?
ร้านโชห่วย กิจการค้า รายรับ รายจ่าย?
ขั้นตอนการเปิดใบ #10 PO PR ใช้ทำอะไร แบบนี้ใครก็ทำได้ง่ายๆ?
มรดกทางการเงิน 7 การจัดการสินทรัพย์และหนี้สิน?
การจัด ทำบัญชี การเงิน และ การสร้างงบทดลองสำหรับ สำนักงานบัญชี คืออะไร?
จดทะเบียนบริษัท ที่ไหน เสียภาษี ยังไง?
ดอกเบี้ย เงินกู้ยืมธนาคาร ที่ กิจการกู้มาเพื่อใช้ในการผลิต
รับทำบัญชี.COM — ร้านอาหาร •OMG• ภาษี รายได้ รายรับ รายจ่าย?
7 คุณสมบัติ บริษัทรับทำบัญชี บริการ ที่ดี?