วิธีคิดค่าล่วงเวลา
มีหลักเกณฑ์การกำหนดค่าล่วงเวลาหลังเที่ยงคืนหรือเปล่า
ค่าล่วงเวลา หลังเที่ยงคืน มีหลักเกณฑ์การกำหนดค่าล่วงเวลาหลังเที่ยงคืนหรือเปล่า บริษัทเปิด 8-5 โมงเย็น
– ในกรณีที่นายจ้างต้องจ่ายค่าล่วงเวลาในอัตราไม่น้อยกว่า 3 เท่า ต้องเป็นในกรณีที่เป็นวันหยุดนักขัตฤกษ์ ลูกจ้างไม่มีสิทธิได้รับค่าจ้างในวันหยุด
– ถ้านายจ้างให้ลูกจ้างทำงานเกินวันละ 8 ชม นายจ้างต้องจ่ายค่าล่วงเวลา 15 เท่า ของค่าจ้างของลูกจ้าง พรบคุ้มครองแรงงาน พศ2541 มาตรา 61 ถ้านายจ้างให้ลูกจ้างทำงานเกินวันละ 8 ชม นายจ้างต้องจ่ายค่าล่วงเวลา 15 เท่า ของค่าจ้างของลูกจ้างค่ะ แต่ ถ้าในกรณที่ทำงานล่วงเวลาเกิน 8 ชม นายจ้างต้องได้รับความยินยอมจากลูกจ้าง และ นายจ้างต้องจ่ายค่าล่วงเวลาในอัตรา 30 เท่าของค่าจ้าง
พรบคุ้มครองแรงงาน พศ2541 มาตรา 61 การคำนวณค่าจ้างในการทำงานล่วงเวลา
การทำงานล่วงเวลา หรือทำงานพิเศษนั้น ผมขอจำแนกตามกฎหมายออกเป็น 3 ประเภทคือ
1 การทำงานล่วงเวลาในวันปกติ
2 การทำงานในวันหยุด
3 การทำงานล่วงเวลาในวันหยุด
ซึ่งจะขออธิบายการคิดคำนวณเป็นข้อๆ ดังนี้
1 การทำงานล่วงเวลา การทำงานที่เกินจากการทำงานเวลาปกติไปแล้ว พรบคุ้มครองแรงงานมาตรา 61 กำหนดให้นายจ้างต้องจ่ายค่าจ้างไม่น้อยกว่า 15 (หนึ่งเท่าครึ่ง) ของอัตราค่าจ้างต่อชั่วโมง เช่น จากตัวอย่างข้างต้นเราได้มาแล้วว่า อัตราค่าจ้างต่อชั่วโมงปกติของเรานั้นอยู่ที่ 4167 บาทต่อชั่วโมงดังนั้นหากเราอยากรู้ว่า วันนี้เราทำงานล่วงเวลาไปแล้ว 1 ชั่วโมง จะได้ค่าทำงานล่วงเวลาเท่าไร ก็สามารถคำนวณง่ายๆโดย ( อัตราค่าจ้างต่อชั่วโมงปกติ คูณด้วย 15 เท่า) คุณ จำนวนชั่วโมงที่ทำงานล่วงเวลา สำหรับกรณีตัวอย่างข้างต้น อัตราทำงานล่วงเวลาในวันปกติจะอยู่ที่ (4167 X 15) X 1 ชั่วโมง = 6250 บาท
หมายเหตุ การทำงานล่วงเวลา นอกจากจะมีกฎหมายกำหนดค่าจ้างเอาไว้แล้ว ยังมีกฎหมายกำหนดวิธีการจัดการที่ลูกจ้างต้องรู้อีกด้วย เช่น – ห้ามนายจ้างบังคับลูกจ้างทำงานล่วงเวลา ยกเว้นลูกจ้างยินยอม (มาตรา 24) – การทำงานล่วงเวลาเกินจากเวลาปกติ นายจ้างต้องจัดให้ลูกจ้างพักก่อนไม่น้อยกว่า 20 นาทีก่อนเริ่มทำงานล่วงเวลา (มาตรา 27 วรรค 4) – งานบางอย่าง บางหน้าที่ อาจไม่ได้รับค่าจ้างทำงานล่วงเวลา ที่ 15 เท่าตามมาตรา 61 แต่จะได้รับเพียง 1 เท่าเพียงเท่านั้น เช่น ลูกจ้างที่ทีหน้าที่กระทำการแทนนายจ้าง , งานเปิดปิดประตูระบายน้ำ ฯลฯ (มาตรา 65)
2 การมาทำงานในวันหยุด ประเด็นนี้ขอแยกออกเป็นข้อย่อย 2 ประเภทคือ พนักงานรายเดือน และพนักงานรายวัน เนื่องจาก
– พนักงานรายเดือน หรือพนักงานประจำ ถือเป็นลูกจ้างที่ได้รับค่าจ้างในวันหยุด นั้นคือตามกฎหมายแล้ว วันเสาร์อาทิตย์ที่ลูกจ้างหยุด ถือว่าได้รับค่าจ้างตามกฎหมายอยู่แล้ว
– พนักงานรายวัน พนักงานประเภทนี้ วันไหนมาทำงานจึงได้ค่าจ้าง วันไหนไม่มาทำงาน ไม่ได้รับค่าจ้าง ดังนั้นพนักงานรายวันถือว่าเป็นพนักงานที่ไม่ได้รับค่าจ้างในวันหยุด
ดังนั้นการคำนวณค่าทำงานล่วงเวลา สำหรับพนักงานสองประเภทนี้ จึงต่างกันออกไป ดังนี้
21 กรณีพนักงานรายเดือน หรือพนักงานประจำ ให้จ่ายค่าทำงานในวันหยุดไม่น้อยกว่า 1 เท่า (มาตรา 62 (1)
22 กรณีพนักงานรายวัน ให้ ให้จ่ายค่าทำงานในวันหยุดไม่น้อยกว่า 2 เท่า (มาตรา 62 (2) สำหรับประเด็นที่ดิฉันยกกฎหมายมาอ้างอิงนั้น เป็นมาตรฐานขั้นต่ำที่กฎหมายกำหนด เพราะฉะนั้นไม่ต้องมานั่งถกเถียงกันว่า บริษัทนี้ให้ที่ 1 เท่า บริษัทนั้นให้ที่ 2 เท่า เพราะพื้นฐานที่ให้อยู่เพียง 1 เท่าเท่านั้นหากบริษัทใดให้มากกว่า 1 เท่าแล้ว ถือว่าเป็นคุณต่อลูกจ้าง และไม่ได้ถือว่าผิดแต่อย่างใด
3 การทำงานล่วงเวลาในวันหยุด หลังจากที่ทำงานในวันหยุดครบ 8 ชั่วโมงไปแล้ว หรือหลังเวลาเลิกงานในวันหยุดไปแล้ว หากต้องทำงานล่วงเวลา การคำนวณค่าทำงานล่วงเวลาในวันหยุดจะคล้ายๆกับการคำนวณการทำงานล่วงเวลาในวันทำงานปกติ เพียงแต่เปลี่ยนจาก 15 เท่า เป็นอัตราชั่วโมงละไม่น้อยกว่า 3 (สาม) เท่า เท่านั้นเองคะ (มาตรา 63)
ดังนั้น ตัวอย่างที่ยกมาข้างต้นเลย การคำนวณค่าทำงานล่วงเวลาในวันหยุดจะเท่ากับ ( อัตราค่าจ้างต่อชั่วโมงปกติ คูณด้วย 30 เท่า) คุณ จำนวนชั่วโมงที่ทำงานล่วงเวลา เช่น อัตราทำงานล่วงเวลาในวันปกติจะอยู่ที่ (4167 X 30) X 1 ชั่วโมง = 125 บาท
ค่าล่วงเวลาหรือโอที (Overtime) คือ เงินที่จ่ายเพิ่มในการทำงานเวลาที่เกินเวลาทำงานปกติตามระเบียบหรือข้อกำหนดของการจ้างงาน มักจะมีในกรณีที่พนักงานทำงานเกินชั่วโมงที่กำหนดในสัญญาจ้างงานหรือเกินเวลาทำงานปกติที่กำหนดไว้ในนโยบายของบริษัท โดยทั่วไปมีข้อกำหนดและกฎหมายที่กำหนดเรื่องการจ่ายค่าล่วงเวลา โอที ดังนี้
-
อัตราค่าล่วงเวลา อัตราค่าล่วงเวลาโอทีมักถูกกำหนดเป็นเท่าไรต่อชั่วโมงที่ทำงานเกินเวลาปกติ ส่วนใหญ่อัตราค่าล่วงเวลาจะสูงกว่าค่าจ้างปกติของชั่วโมงงานปกติ เช่น 15 เท่า หรือ 2 เท่าของค่าจ้างปกติ
-
เวลาที่ถือว่าเป็นโอที เวลาที่ถือว่าเป็นโอทีมักถูกกำหนดในสัญญาจ้างงานหรือนโยบายของบริษัท โดยทั่วไปเวลาที่เกินเวลาทำงานปกติจะถือเป็นโอที เช่น หากเวลาทำงานปกติคือ 8 ชั่วโมงต่อวัน แล้วการทำงานเกิน 8 ชั่วโมงจะถือว่าเป็นโอที
-
กฎหมายและข้อกำหนด การจ่ายค่าล่วงเวลาโอทีมักถูกควบคุมโดยกฎหมายแรงงานและข้อกำหนดการจ้างงานของแต่ละประเทศ หรือแต่ละสถานที่ ท่านควรตรวจสอบกฎหมายแรงงานและข้อกำหนดของบริษัทที่ท่านทำงานอยู่เพื่อทราบรายละเอียดเกี่ยวกับโอที
-
การจัดเก็บข้อมูลและรายงาน บริษัทมักจะจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับการทำงานโอทีและจ่ายค่าล่วงเวลาโอทีในบัญชีและระบบของพนักงาน เพื่อให้สามารถติดตามและรายงานค่าล่วงเวลาโอทีได้อย่างถูกต้องและเป็นระบบ
ค่าล่วงเวลาโอทีเป็นสิ่งที่สามารถให้ประโยชน์แก่พนักงานที่ทำงานเกินเวลาและยินดีที่จะทำงานพิเศษ แต่สำหรับบริษัทควรใส่ใจในการจัดการโอทีและค่าล่วงเวลาโอทีอย่างถูกต้องตามกฎหมายและข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องเพื่อป้องกันปัญหาทางกฎหมายและการเงินในอนาคต
การคิดค่าล่วงเวลา (โอที) สามารถใช้สูตรง่าย ๆ ได้โดยพิจารณาอัตราค่าล่วงเวลาและเวลาการทำงานเกินเวลาของพนักงาน เพื่อคำนวณค่าล่วงเวลาที่จะจ่ายให้กับพนักงาน ตัวอย่างการคิดค่าล่วงเวลาโอทีดังนี้
สมมุติว่า
- ค่าจ้างปกติต่อชั่วโมงของพนักงานคือ 100 บาท
- อัตราค่าล่วงเวลาโอทีคือ 15 เท่าของค่าจ้างปกติ
และพนักงานทำงานเกินเวลา 2 ชั่วโมง
วิธีคำนวณค่าล่วงเวลาโอที
-
คำนวณค่าจ้างปกติที่พนักงานจะได้รับในชั่วโมงปกติ 100 บาท/ชั่วโมง x 2 ชั่วโมง = 200 บาท
-
คำนวณค่าล่วงเวลาโอที 200 บาท (ค่าจ้างปกติ) x 15 (อัตราค่าล่วงเวลาโอที) = 300 บาท
ดังนั้น พนักงานจะได้รับค่าล่วงเวลาโอทีเป็นจำนวน 300 บาท สำหรับการทำงานเกินเวลา 2 ชั่วโมง
หากเวลาการทำงานเกินเวลาไม่ครบชั่วโมงหรือเกิน 1 ชั่วโมง สามารถคิดค่าล่วงเวลาโอทีเป็นบาทเต็มได้ แต่หากเกิน 1 ชั่วโมงก็ควรคิดให้ถูกนาที เช่น 1 ชั่วโมง 15 นาทีคิดเป็น 125 ชั่วโมง หรือ 1 ชั่วโมง 30 นาทีคิดเป็น 15 ชั่วโมง และต่อเมื่อเกิน 15 ชั่วโมงก็คิดเป็นเวลาที่ถัดไป เช่น 2 ชั่วโมง 15 นาทีคิดเป็น 225 ชั่วโมง และอัตราค่าล่วงเวลาโอทียังคงเป็น 15 เท่าของค่าจ้างปกติ
อ่านบทความทั้งหมด >>> รับทำบัญชี.com
ปริญญาตรี บัญชี นักบัญชี ที่ชอบทำบทความ รักการทำบทความมากว่า 20 ปี
รับทำบัญชี โทร.081-931-8341 (คุณจ๋า)
หมวดบัญชี #5 ทั้งหมด มีกี่ ชื่อบัญชี ความหมาย เดบิต เครดิต?
ยืนยันยอด เงินฝากธนาคาร ต้องทำอย่างไร
รับทําบัญชี #2 [DBD] สำนักงานบัญชี นนทบุรี ปิดงบ จดบริษัท?
ช่างผู้รับเหมา รายรับ รายจ่าย โอกาส !
คำรับรอง จดทะเบียน ขอบริษัท ตัวอย่าง?
ร้านอาหาร •OMG• ภาษี รายได้ รายรับ รายจ่าย?
จดทะเบียนบริษัท ที่ไหน เสียภาษี ยังไง?
กำลังการผลิตว่างเปล่า ( Idle Capacity )
เงินให้กู้ยืมกรรมการ งบบัญชีหมวดไหน บันทึกปรับปรุงอย่างไร?