smeหักค่าใช้จ่ายได้เท่าไร

ธุรกิจ SME หักค่าใช้จ่ายได้เท่าไรบุคคล 2 มี เป้าหมายรายได้?

SME หักค่าใช้จ่ายได้เท่าไร

ธุรกิจ sme ถือเป็นธุรกิจเล็กๆ สามารถประกอบได้ทั้งในรูปแบบ บุคคลธรรมดา และ นิติบุคคล

วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) คือธุรกิจที่รักษารายได้ ทรัพย์สิน หรือจำนวนพนักงานให้ต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนด แต่ละประเทศมีคำจำกัดความของตนเองเกี่ยวกับสิ่งที่ประกอบขึ้นเป็นวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ต้องเป็นไปตามเกณฑ์ขนาดที่แน่นอน และบางครั้งอุตสาหกรรมที่บริษัทเข้าไปดำเนินการก็จะต้องคำนึงถึงด้วยเช่นกัน

SME หักค่าใช้จ่ายได้เท่าไร

SME หักค่าใช้จ่ายได้เท่าไร

ประเด็นที่สำคัญ

  • ธุรกิจ SME ในประเทศไทย แบ่งได้อย่างไร และใช้เกณฑ์อะไรในการแบ่ง
  • เป็นบุคคลธรรมดาที่ประกอบกิจการ หักค่าใช้จ่ายได้เท่าไร
  • เป็นนิติบุคคลที่ประกอบกิจการ หักค่าใช้จ่ายได้เท่าไร

SMEs (Small and Medium Enterprises) คือ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ใน อุตสาหกรรม การผลิต กิจการค้าส่งและค้าปลีก และกิจการบริการ

เกณฑ์แบ่งประเภท SME

  1. เกณฑ์จำนวนคนงาน
  2. เกณฑ์จำนวนเงินลงทุน
  3. เกณฑ์มูลค่าทรัพย์สิน
  4. เกณฑ์รายได้

บุคคลธรรมดา

บุคคลธรรมดา หักค่าใช้จ่าย ได้ 2 วิธี คือ 1.) หักแบบวิธีเหมาจ่าย และ 2.) หักแบบตามจริง

  1. ) หักแบบวิธีเหมา สามารถหักได้สูงสุด 60% ตัวอย่างเช่น รายได้ 100 บาทหักค่าใช้จ่าย ได้ (100*(60/100)) = 60บาท เพราะฉนั้น จะถือว่าเหลือกำไรอยู่ที่ 40 บาท วิธีนี้ จึงนำ 40 บาทมาคำนวน ภาษี

เพิ่มเติม : ต้องดูว่ารายได้ของเรานั้นเป็นประเภทที่เท่าไร (รายได้มี 8 ประเภท) รายได้ที่หักได้สูงสุด จะอยู่ที่ประเภทที่ 8

2.หักแบบตามจริง การหักค่าใช้จ่ายแบบตามจริงจำเป็นต้องใช้เอกสารมาประกอบในการยื่นคำนวณภาษี และเอกสารที่นำมาใช้ต้องเป็นบิลค่าใช้จ่ายที่สรรพากรยอมรับ เป็นบิลที่มีทั้งชื่อผู้ซื้อผู้ขายและข้อมูลตามที่สำหรับการกำหนด จึงจะสามารถนำมาเป็นค่าใช้จ่ายในการคำนวณภาษีได้

นิติบุคคล

แบบนิติบุคคลจะตัดวิธีหักค่าใช้จ่ายแบบเหมาจ่ายออกและเหลือวิธีเดียวคือหักค่าใช้จ่ายได้ตามจริง เพราะฉะนั้นไม่ว่าคุณจะเป็นบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนต้องหักค่าใช้จ่ายตามจริงแบบบุคคลธรรมดา ก็คือเก็บค่าใช้จ่ายที่เป็นบิลจริงๆ และเป็นเอกสารที่ถูกต้องตามกรมสรรพากรกำหนด

เพิ่มเติม : หากนำเอกสารมาใช้เป็นค่าใช้จ่ายแต่สรรพากรมไม่ยอมรับจะต้องทำการ บวกกลับไปเป็นรายได้ เพื่อคำนวนการเสียภาษีเพิ่มเติมต่อไป

บทความนี้มีประโยชน์หรือไม่?

คลิกที่ดาวเพื่อให้คะแนน!

เฉลี่ยได้กี่คะแนน 5 / 5. จำนวนโหวต: 1

ยังไม่มีคะแนนโหวต! เป็นคนแรกที่ให้คะแนนโพสต์นี้

บทความจากเว็บ รับทำบัญชี.COM
อ่านบทความทั้งหมด https://รับทําบัญชี.com/accounting-services

บริษัท ปังปอน จำกัด
47/103 หมู่ 9 ถ.แจ้งวัฒนะ บางพูด ปากเกร็ด นนทบุรี 11120 โทร.02-964-9800
คำถามยอดฮิตของผู้ทำบัญชีที่ควรรู้ 9 ข้อมี มีเป้าหมายรายได้?

คำถามยอดฮิตของผู้ทำบัญชีที่ควรรู้ 9 ข้อมี มีเป้าหมายรายได้?

ใช้ 1 เครื่องมือเข้ามาช่วยเหลือจัดการจึงเป็นสิ่งที่เหมาะสม?

ใช้ 1 เครื่องมือเข้ามาช่วยเหลือจัดการจึงเป็นสิ่งที่เหมาะสม?

งบกระแสเงินสดทางตรงทางอ้อมต่างกันยังไง มี 2 วิธีการคำนวณจบ?

งบกระแสเงินสดทางตรงทางอ้อมต่างกันยังไง มี 2 วิธีการคำนวณจบ?

ภาษีมูลค่าเพิ่มนำเข้าจำหน่ายผลิตภัณฑ์ 2 มี เป้าหมายรายได้?

ภาษีมูลค่าเพิ่มนำเข้าจำหน่ายผลิตภัณฑ์ 2 มี เป้าหมายรายได้?

ขาดทุนจากการขายสินทรัพย์ ค่าซากภาษีบวกกลับ 9 วัตถุประสงค์?

ขาดทุนจากการขายสินทรัพย์ ค่าซากภาษีบวกกลับ 9 วัตถุประสงค์?

เลือกพนักงานบัญชีอย่างไร 1 ให้ดูน่าไว้ใจและน่าเชื่อถือที่สุด?

เลือกพนักงานบัญชีอย่างไร 1 ให้ดูน่าไว้ใจและน่าเชื่อถือที่สุด?

กิจการต้องการเงินจาก 3 บัญชีลูกหนี้ก่อนจะได้รับชำระเงินจาก?

กิจการต้องการเงินจาก 3 บัญชีลูกหนี้ก่อนจะได้รับชำระเงินจาก?

วิธีควบคุมค่าใช้จ่ายในการบริหารภายในกิจการ 9 คุมภายในที่ดี?

วิธีควบคุมค่าใช้จ่ายในการบริหารภายในกิจการ 9 คุมภายในที่ดี?

ไม่อยากโดนหักภาษีเปลี่ยนเป็นค่าอะไร 9 ข้อ มีเป้าหมายรายได้?

ไม่อยากโดนหักภาษีเปลี่ยนเป็นค่าอะไร 9 ข้อ มีเป้าหมายรายได้?

ผังบัญชีมาตรฐาน ตัวอย่าง คือ 9 หมวด ไฟล์ รหัสบัญชีครบ EXCEL?

ผังบัญชีมาตรฐาน ตัวอย่าง คือ 9 หมวด ไฟล์ รหัสบัญชีครบ EXCEL?

ตัวอย่างการบันทึกบัญชีเบื้องต้น 9 หมวด Dr Cr สมุดรายวันทั่วไป?
ใบลดหนี้ตัวอย่างใน 9 ระบบสามารถออก EXCEL PDF ลดราคาลงภาษี
สูตรบัญชี ครอบคลุมทางการเงินของธุรกิจบริหารงาน 9 ส่วนประกอบ?
ค่าโสหุ้ย ไม่สามารถคิดเปอร์เซ็นต์ 9 เนื่องจากการรวมกระบวนทาง
แบบฟอร์มหนังสือยืนยันยอดลูกหนี้ภาษาอังกฤษ WORD DOC 9 ล่าสุด?
ต้นทุนการผลิต 9 มีอะไรบ้างสูตรหมายถึงภาษาอังกฤษบัญชีตัวอย่าง?
อาชีพร้านเสริมสวยธุรกิจประเภทบริการควบคุมการดูแลใบหน้าเส้นผม
ค่าตกแต่งและติดตั้งตัวอย่างปรับปรุงบันทึก 9 บัญชีอยู่หมวดไหน?
หมวดบัญชีทั้งหมด 9 หมวดการแบ่งออกกำหนดเชิงโครงสร้างงบการเงิน
99 โปรแกรมบัญชีมีอะไรบ้างเป็นที่นิยมสรรพากรรับรอง 9 ข้อมี?