ปป

สิทธิประโยชน์ทางภาษีตามอนุสัญญาภาษีซ้อน

Click to rate this post!
[Total: 563 Average: 5]

สิทธิประโยชน์ทางภาษีตามอนุสัญญาภาษีซ้อน

<!– wp:post-terms {“term”:”post_tag”,”prefix”:”\u003cstrong\u003eTag\u003c/strong\u003e : “,”style”:{“elements”:{“link”:{“color”:{“text”:”var:preset|color|ast-global-color-3″}}}},”textColor”:”ast-global-color-3″,”fontSize”:”small”} /–>สิทธิประโยชน์ทางภาษีตามอนุสัญญาภาษีซ้อน

สวัสดีครับ! คุณผู้อ่านสรรพากรสาส์น ที่เคารพรักทุกท่าน ผู้เขียนได้มีโอกาสบรรยาย ในหัวข้อ “สิทธิประโยชน์ทางภาษีตามอนุสัญญาภาษีซ้อน” ให้กับสำนักงานสรรพากรภาคต่างๆ ในช่วงที่ผ่านมา ซึ่งได้มีปัญหาต่างๆ ในเรื่องอนุสัญญาภาษีซ้อนจากผู้เข้ารับฟังบรรยาย และในโอกาสนี้

ผู้เขียนจึงขออนุญาตนำองค์ความรู้และข้อแนะนำจากประสบการณ์การบรรยายมาบอกกล่าวเล่าสู่กันฟังในเรื่องการพิจารณา ถิ่นที่อยู่เพื่อการรัษฎากรสำหรับการใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีตามอนุสัญญาภาษีซ้อน เพื่อคุณผู้อ่านจะได้ปฏิบัติให้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กฎหมายกำหนดไว้ผู้เขียนขอเรียนว่า

หลายท่านเข้าใจว่าหากประเทศไทยมีอนุสัญญาฯ กับต่างประเทศแล้ว เราสามารถโอนเงินไปต่างประเทศตามที่มี ใบแจ้งหนี้ได้โดยอัตโนมัติ และไม่จำเป็นต้อง หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ….ใช่หรือไม่ครับ

ถ้าคิดเช่นนั้น(ติดตามเนื้อหาเต็มได้ในวารสารสรรพากรสาส์นประจำเดือนตุลาคม 2553)ที่มา สรรพากรสาส์นRelated Posts via Categoriesการขยายเวลายื่นแบบแสดงรายการและชำระภาษี พื้นที่น้ำท่วม (1)ค่ารับรองหรือค่าบริการ (1)ค่าดอกเบี้ยจ่าย (1)มูลค่าของทรัพย์สินและหนี้สินที่เป็นเงินตราต่างประเทศ (1)การลงรายการในรายงานภาษีซื้อ (1)

สำนักงานบัญชี มีบริการอะไรบ้าง แล้วจะติดต่อสำนักงานบัญชี รับทำบัญชี ได้อย่างไร

47/103 ตำบลบางพูด อำเภอปากเกร็ด
จังหวัดนนทบุรี 11120
โทร.081-931-8341

Leave a Comment

Scroll to Top