ค่าโสหุ้ย
ค่าโสหุ้ย คือ
ค่าโสหุ้ย คือ (overhead cost) ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการผลิตสินค้าและบริการ เป็นต้นทุนแฝงที่ผู้ประกอบการจะต้องปรับให้ค่าโสหุ้ยลดลง เพื่อลดความเสี่ยงต่อการดำเนินธุรกิจและลดภาระค่าใช้จ่ายจิปาถะต่างๆ ที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้คาดการณ์ไว้ล่วงหน้า ซึ่งโสหุ้ยที่ดีจะต้องมีค่าน้อย เพราะถ้าโสหุ้ยมากๆจะทำให้ธุรกิจเสี่ยงต่อการขาดทุน จึงมักนำโสหุ้ยที่เป็นต้นทุนคงที่มาปรับให้เป็นต้นทุนผันแปรนั่นเอง
ตัวอย่างค่าโสหุ้ย
ค่าล่วงเวลา โอที ค่าไฟฟ้า น้ำประปา ล่วงเวลา ค่าบำรุงรักษาเครื่องจักร
อันที่จริงถ้าให้พูดกันแบบเข้าใจง่ายๆตามหลักการทำบัญชี ค่า โสหุ้ยก็คือค่าใช้จ่ายในการดำเนินกิจการ โดยผู้ประกอบอาจจะควบคุมหรือไม่ได้ควบคุมก็ได้ แต่นั่นหมายถึงการบริหารงานที่ไม่เป็นระบบ
เพราะค่าใช้จ่ายคือต้นทุนของกิจการผู้ประกอบจึงจะต้องพยายามหาวิธีให้ค่า โสหุ้ยน้อยลดมากที่สุด เพื่อผลกำไรที่คาดหวังไว้ประสบความสำเร็จนั่นเอง ยกตัวอย่างค่า โสหุ้ย ในธุรกิจทั่วไปมี ดังนี้
ค่าโสหุ้ย มีอะไรบ้าง
- ค่าใบสั่ง
- ค่าน้ำชา
- ค่าแป๊ะเจี๊ยะ
- ค่าใต้โต๊ะ
ตัวอย่างค่าโสหุ้ย เช่น ค่าโทรศัพท์ติดต่อลูกค้า ค่าเข้าพบลูกค้า ถึงจะประเมินการไว้ได้แต่พอเอาเข้าจริงก็เกินงบที่ตั้งไว้ ก็เช่นกัน อย่างที่แนะนำไปข้างต้นว่าค่า โสหุ้ย คือค่าใช้จ่ายหรือต้นทุนแฝงที่ไม่อยากคาดเดาได้ 100% ทำให้ทุกคนคิดว่างั้นค่าใช้จ่ายทุกอย่างในบริษัทคือค่า โสหุ้ยทั้งหมดนะสิ ใครคิดแบบนี้ก็คิดถูกมาแล้วประมาณ 95% แต่ผมจะพามาเปลี่ยนความคิดเพราะว่าที่จริงแล้วจะมีค่าใช้จ่ายอื่นๆที่เราไม่ได้เรียกว่าค่า โสหุ้ย นั่นก็คือ ต้นทุน มีอะไรบ้างมาดูกัน
อะไรบ้าง ที่ไม่ใช่ค่า โสหุ้ย
- เงินเดือนลูกจ้าง
- พนักงานบริษัท
- ค่าน้ำ ค่าไฟ ฯลฯ
ค่า โสหุ้ย การ ผลิต คือ
ค่าใช้จ่ายในการผลิดสินค้า ที่แฝงมา และไม่สามารถคาดเดาได้ ค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ ถือเป็นค่าใช้จ่ายสิิ้นเปลืองของกิจการ มีผลกระทบกับผลกำไรของธุรกิจ
ค่า โสหุ้ยการผลิต มีอะไรบ้าง
- ค่าล่วงเวลา โอที
- ค่าไฟฟ้า น้ำประปา ล่วงเวลา
- ค่าบำรุงรักษาเครื่องจักร
ค่าใช้จ่ายผันแปร มีอะไรบ้าง
- ค่าซ่อมแซม อุปกรณ์
- ค่าเบี้ยขยัน ค่าล่วงเวลา
- ค่าขนส่ง
- ค่าโฆษณา
- ค่าที่ปรึกษา
- ค่าแรงพนักงานที่ไม่เกี่ยวข้อง เช่น แม่บ้าน รปภ
ค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร มีอะไรบ้าง
- ค่าล่วงเวลา โอที
- ค่าไฟฟ้า น้ำประปา ล่วงเวลา
- ค่าบำรุงรักษาเครื่องจักร
วิธีการคำนวณค่า โสหุ้ย
การคิดค่า โสหุ้ยจะต้องใช้ข้อมูลเก่ามาประมาณการว่าควรใช้ค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ประมาณเท่าไหร่ โดยคิดจากค่าใช้จ่ายสิ้นเปลืองต่างๆมารวมกันภายใน 1 เดือนว่ามีค่าใช้จ่ายไปทั้งหมดกี่บาท แล้วจึงเอาผลผลิตมาหารเพื่อหาค่าใช้จ่ายที่กิจการต้องนำมาคิดต้นทุนในการผลิต ยกตัวอย่างง่ายๆดังนี้
- ค่าน้ำมันเดือนละ 2,000 บาท / เดือน
- ค่าอะไหล่เดือนละ 3,000 บาท / เดือน
- ค่าใบสั่งเดือนละ 1,000 บาท / เดือน
- ค่าประกันภัยรถยนต์เดือนละ 2,000 บาท / เดือน
โจทย์ : จงหาโสหุ้ยว่าค่าขนส่งต่อเดือน/ต่อรถขนส่งสินค้าสามคัน มีค่าใช้จ่ายเป็นจำนวนเงินเท่าไหร่
วิธีทำ : นำค่าใช้จ่ายทั้งหมดมารวมกันเท่ากับ 8,000 บาท ต่อรถขนส่งสินค้า 3 คัน จะได้โสหุ้ยของรถขนส่งสินค้าเท่ากับ 2,666.67 บาท/คัน
เห็นไหมละครับว่าคำศัพท์ในธุรกิจบัญชีไม่ได้ง่ายอย่างที่คิด ซึ่งบางคนเรียนบัญชีโดยตรงยังไม่เข้าใจคำว่า โสหุ้ย เลยด้วยซ้ำทำให้การคิดคำนวณต้นทุนการผลิตเกิดความคลาดเคลื่อนยากต่อการวางแผนการผลิตในอนาคต
หากจะให้ดีควรหาพนักงานผู้เชี่ยวชาญด้านบัญชีไว้ในกิจการสักคน แต่ก็ต้องแลกมาด้วยค่าใช้จ่ายที่มากในการจูงใจให้ทำงานกับกิจการของเรา
ซึ่งถ้าให้ดีกว่านี้ควรจะหาสำนักงานบัญชีสักแห่งที่รับทำบัญชีมาจัดการในเรื่องบัญชีของกิจการของเราให้เกิดความคล่องตัวแล้วเอาเวลาไปทำอย่างอื่นน่าจะได้ผลดีกว่า
ต้นทุนแฝง คือ ( Implicit Cost ) ต้นทุนการผลิตที่เกิดจากการใช้ปัจจัยการผลิตที่เป็นกรรมสิทธิ์ ของผู้ประกอบการ โดยไม่มีการจ่ายค่าตอบแทนเป็นตัวเงินหรือน้อยกว่าราคาตลาด ตัวอย่าง เช่น หากเกษตรกรมีที่ดินเป็นของตัวเอง ก็ไม่ได้คิดค่าเช่า หรือ ค่าแรงของลูกหลานที่มาช่วยกันลงแขก
ปริญญาตรี บัญชี นักบัญชี ที่ชอบทำบทความ รักการทำบทความมากว่า 20 ปี